5分で分かるタイビジネス。(BM Accounting/BM Legal)

日系企業を取り巻く海外ビジネス環境は年々厳しくなっており、海外ビジネスのあり方を考える企業が最近では多くなってきています。会計・税務・労務の専門家が貴社の知識面でのサポートを当ブログにて行うべく、タイの各種法律と実態に基づき執筆しています。 個別のお問い合わせ事項御座いましたら、ホームページよりご連絡下さい。 http://www.businessmanagementasia.com/jp/home

2021年04月

政府の調査では、今後タイの高齢者人口の増加が進むと見込まれていますが、高齢者の中には老後の必要な資金が不足する状況に陥る方増えるとみられてます。原因としては生産年齢時に貯金習慣があまりないことも挙げられています。そのため定年退職後に生活費が足りるように、政府は2023年から国民年金基金を導入する法案を作成しています。対象者は公務員のような定年退職後の福祉、年金がない1560歳の企業の従業員となります。この基金は従業員と雇用主は社会保険のようなシステムで毎月に納付を義務づけられます。納付金額と納付率は従業員の賃金と基金の導入からの時期によって変わります。定年退職後に積立金と運用利益は一時金または毎月20年の分割いずれかで受けることが可能です。

<納付金額>

従業員と雇用主は以下の料率の通り納付する必要があります。賃金の計算の上限金額は月額60,000バーツとなります。ただし、従業員の賃金は10,000バーツを超えない場合、雇用主が全額を負担します。

    基金の導入から13年目:従業員、雇用主各々3

    基金の導入から46年目:従業員、雇用主各々5

    基金の導入から79年目:従業員、雇用主各々の7

    基金の導入から10年目:従業員、雇用主各々10%以内

上記の料率以上の納付を希望する場合、最大30%まで納付することが可能です。

<適用時期>

政府は企業のステータスによって適用の時期を以下の通り予定しています。

① 従業員の100名以上の民間企業、行政機関から仕事を受注する企業で特定の企業、証券取引所上場企業、BOI恩典を取得している企業は国民年金基金の開始日より加入する必要があります。

② 従業員の10名以上の民間企業は導入から4年目に加入する必要があります。

③ 従業員の1名以上の民間企業は導入から6年目に加入する必要があります。

別の年金基金 例えばプロビデントファンドなどに申込んでいる企業は、国民年金基金の法定の料率以上に納付している場合、国民年金基金の加入は不要となります。

---

กองทุนบำเหน็จบำนาญแห่งชาติที่มีกำหนดการเริ่มใช้ในปี 2566
จากการสำรวจของทางภาครัฐพบว่าจำนวนผู้สูงอายุในไทยมีจำนวนมากขึ้นเรื่อย ๆ แต่ในจำนวนผู้สูงอายุเหล่านั้นมีจำนวนไม่น้อยที่มีเงินไม่เพียงพอต่อการดำรงชีวิตภายหลังการเกษียณ ซึ่งหลัก ๆ แล้วเกิดจากการไม่ค่อยออมเงินในช่วงทำงานหรือก่อนวัยเกษียณ เพราะฉะนั้นทางรัฐบาลจึงได้ออกร่างพระราชบัญญัติกองทุนบำเหน็จบำนาญแห่งชาติ (กบช.) คาดว่าน่าจะเริ่มใช้จริงประมาณปี 2566 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีเงินเพียงพอในการดำรงชีพในช่วงวัยหลังเกษียณ โดยกลุ่มเป้าหมายหลักคือพนักงานเอกชนที่มีอายุ 15-60 ปีที่ไม่ได้มีสวัสดิการและไม่มีบำเหน็จบำนาญหลังเกษียณเหมือนอย่างข้าราชการ ซึ่งกองทุน ฯ นี้จะเป็นกองทุนภาคบังคับที่บังคับให้พนักงานและนายจ้างนำส่งเงินทุกเดือนเช่นเดียวกับระบบประกันสังคม โดยจำนวนเงินที่นำส่งนั้นจะขึ้นอยู่กับค่าจ้างในแต่ละเดือนของพนักงานและอัตราที่นำส่งขึ้นอยู่กับปีที่กองทุน ฯ นี้เปิดรับสมาชิก และเมื่อพนักงานเกษียณอายุ จะสามารถเลือกรับเงินสะสมและผลประโยชน์ในรูปแบบเงินก้อนจ่ายครั้งเดียว (บำเหน็จ) หรือทยอยจ่ายเป็นรายเดือนติดต่อกัน 20 ปี (บำนาญ) ก็ได้

จำนวนเงินที่นำส่ง

พนักงานและนายจ้างจะต้องสมทบเงินเข้ากองทุน ฯ ตามอัตราดังต่อไปนี้ ซึ่งค่าจ้างที่นำไปคิดสูงสุดอยู่ที่ 60,000 บาท แต่กรณีที่พนักงานมีเงินเดือนไม่ถึง 10,000 บาท นายจ้างจะเป็นผู้นำส่งเงินเข้ากองทุน ฯ เพียงฝ่ายเดียว

1) ปีที่ 1-3 นับตั้งแต่วันที่กองทุน ฯ เปิดรับสมาชิก สบทบเงินฝ่ายละไม่น้อยกว่า 3%

2) ปีที่ 4-6 นับตั้งแต่วันที่กองทุน ฯ เปิดรับสมาชิก สบทบเงินฝ่ายละไม่น้อยกว่า 5%

3) ปีที่ 7-9 นับตั้งแต่วันที่กองทุน ฯ เปิดรับสมาชิก สบทบเงินฝ่ายละไม่น้อยกว่า 7%

4) ปีที่ 10 นับตั้งแต่วันที่กองทุน ฯ เปิดรับสมาชิก สบทบเงินฝ่ายละไม่เกิน 10%

หากพนักงานและนายจ้างต้องการส่งเงินสมทบมากกว่าที่กำหนด สามารถส่งได้แต่ไม่เกิน 30%

กำหนดเวลาในการเข้าร่วมกองทุน ฯ

รัฐได้กำหนดให้บริษัทต่าง ๆ เข้าร่วมกองทุน ฯ ตามช่วงระยะเวลาดังต่อไปนี้

1) บริษัทเอกชนที่มีพนักงานตั้งแต่ 100 คนขึ้นไป, บริษัทที่ได้รับสัมปทานจากหน่วยงานรัฐ, บริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์, บริษัทที่ได้รับส่งเสริมการลงทุน จะต้องเข้าร่วมตั้งแต่กองทุน ฯ เปิดรับสมาชิก

2) บริษัทที่มีพนักงานตั้งแต่ 10 คนขึ้นไป จะต้องเข้าร่วมกองทุน ฯ ในปีที่ 4 นับตั้งแต่บังคับใช้พ.ร.บ.นี้

3) บริษัทที่มีพนักงานตั้งแต่ 1 คนขึ้นไป จะต้องเข้าร่วมกองทุน ฯ ในปีที่ 4 นับตั้งแต่บังคับใช้พ.ร.บ.นี้

หากบริษัทใดที่เข้าร่วมกองทุนเงินสำรองเลี้ยงชีพอื่น ๆ ที่มีอัตราสมทบเท่ากับหรือมากกว่ากองทุน ฯ นี้อยู่แล้ว เช่น กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ (PVD) ที่ทำไว้กับธนาคาร ก็ไม่จำเป็นจะต้องสมทบเงินเข้าร่วมกองทุน ฯ

---

記事の内容が貴社の実態に合わせてどのように取り扱われるかが不明な場合など、お困りのことがございましたらお気軽に下記メールアドレスまでお問合せ下さい。

info@bm-ac.com

http://www.businessmanagementasia.com/jp/home

 

BM Accounting Co., Ltd.

BM Legal Co., Ltd.

President

米国公認会計士(inactive)

社会保険労務士

長澤 直毅

※本記事に記載の内容は、作成時点で得られる法律、実務上の情報をもとに作成しておりますが、本記事の閲覧や情報収集については、情報が利用者ご自身の状況に適合するものか否か、ご自身の責任において行なっていただきますようお願いいたします。 本記事に関して発生トラブル、およびそれが原因で発生した損失や損害について、BM Accounting Co., Ltd,/BM Legal Co., Ltd.及び執筆者個人.は一切の責任を負いかねます。また、本記事は一部で外部サイトへのリンクを含んでいますが、リンクする第三者のサイトの個人情報保護の取り扱いや、そのサイトの内容に関して一切責任を負いませんのであらかじめご了承ください。

建設サービスの支払い時には建設の材料や工事の費用などのほかに労務費も含まれるケースが多くなります。ただし、建設サービスの請求書で材料と労務費が区分されずに源泉税の控除対象が明確ではないケースがみられます。労務費の支払いは源泉税控除の対象となりますのでご留意頂ければと思います。源泉税を引かずに支払いをする場合、後日ペナルティが発生する可能性があります。今回は建設サービスに関する請求書の源泉税の確認方法について記載致します。

通常には請求書は2つのフォーマットがあります。

請求書①            請求書②

金額 〇〇〇          金額 〇〇〇

VAT 〇〇〇          VAT 〇〇〇

合計 〇〇〇          源泉税控除 〇〇〇

                  合計 〇〇〇

 上記のように請求書のフォーマットにより、源泉税控除を明記する場合、しない場合の2つのパターンがあります。請求書①のフォーマットの場合、支払側にとって源泉税の控除が必要かどうかの判断が難しい場合があります。請求書①のフォーマットの場合、支払い時に源泉税を引く必要があるかどうか、引く必要があれば何パーセントで引くかは支払者が判断しなければなりません。建設サービスの支払い時には出来高30%、前払50%など出来高や前払いでの請求の場合もありますので、源泉税の確認がさらに難しくなります。

一般的に支払い側の源泉税の控除方法は以下の2通りがみられます。

1. 合計金額で源泉税を控除

請求額     100,000

VAT       7,000

源泉税控除   3,000 ←源泉税の計算は合計金額100,0003パーセント

こちらの場合支払い側は多く源泉税を控除しているため税務リスクは少なくなりますが、合計金額から源泉税を控除することに請求書発行者が同意しないケースもみられます。

2. 請求書発行者に労務費を確認し、労務費に基づき源泉税を控除

請求額     100,000 →材料費70,000 労務費30,000

材料費     70,000

労務費     30,000

VAT       7,000

源泉税控除  900 ←源泉税の計算は30,000の人工費の3パーセント

こちらの方法の場合には労務費からのみ源泉税を控除するため、材料費と労務費に分けた請求書を発行してもらう必要があります。

業者によってもいずれの方法を望むかは変わることがありますので、事前に打ち合わせをして源泉税の控除金額を明確にすることをお勧め致します。

---

ภาษี หัก ณ ที่จ่ายในใบแจ้งหนี้ ผู้รับเหมางานก่อสร้าง

ปัญหานึงที่พบบ่อยมาก สำหรับการจ่ายเงินค่าจ้างให้กับผู้รับเหมาก่อสร้างนั้นคือ การที่ผู้ประกอบการไม่รู้ถ้าแท้จริงแล้วรายการค่าก่อสร้างนั้นมีค่าแรงที่แอบแฝงมาด้วย ค่าแรงถือเป็นค่าบริการจำเป็นที่จะต้องมีการคิด หัก ณ ที่จ่ายและนำส่งต่อกรมสรรพากร ซึ่งหากผู้ประกอบการไม่ได้หักและนำส่งภาษี หัก ณ ที่จ่ายแล้ว  อาจจะเสียเบี้ยปรับเงินเพิ่มได้ภายหลัง ทางเราเลยอยากแนะนำ วิธีการตรวจสอบหัก ณ ที่จ่าย สำหรับใบแจ้งหนี้ ผู้รับเหมางานก่อสร้าง เพื่อเป็นประโยชน์ต่อทุกท่าน

 

ก่อนอื่นต้องอธิบายตัวใบแจ้งหนี้ให้ทราบก่อนว่า โดยปกติแล้วใบแจ้งหนี้ที่เราเห็นนั้นจะมีหลัก เป็น 2แบบ

 

ใบแจ้งหนี้แบบที่ 1                                                                 ใบแจ้งหนี้แบบที่ 2

Amount                  xxx                                                          Amount                  xxx

VAT                       xxx                                                          VAT                       xxx

Total                       xxx                                                          WHT (Minus)        xxx

                                                                                                Total                       xxx

จะเห็นได้ชัดว่า การออกใบแจ้งหนี้นั้นจะมีทั้งออกแบบคิดภาษี หัก ณ ที่จ่ายให้ และ ไม่มี ซึ่งส่วนใหญ่ที่ผู้ประกอบการจะสับสนคือแบบที่ 1 ทั้งนี้ผู้ให้บริการสามารถออกใบแจ้งหนี้แบบไหนก็ได้เนื่องจากไม่มีกฎหมายบังคับ แต่ผู้รับบริการหรือคนจ่ายเงินนั้นจะต้องแยกให้ได้ว่ามีหัก ณ ที่จ่ายหรือไม่ หัก ณ ที่จ่ายกี่เปอร์เซ็นต์ เพื่อนำส่งสรรพากร สำหรับงานก่อสร้างนั้นจะออกใบแจ้งหนี้เรียกเก็บเงินต่อเมื่องานสำเร็จตามขั้นตอน หรือ ตามที่ตกลงกันไว้ ทำให้บางครั้งเนื้อหาในการออกใบแจ้งหนี้ ค่อนข้างเข้าใจได้ยาก เช่น Complete phase 1 (30%), Advance for job (50%) และอื่น

 

เพื่อที่จะให้ผู้ประกอบการสามารถจ่ายเงินได้ถูกต้อง วิธีการตรวจสอบจึงมี 2 วิธี

 

1.     นำจำนวนเงินทั้งหมดมาคิด ภาษีหัก ณ ที่จ่าย

ตัวอย่าง

Complete phase 1 (30%)        100,000  

Vat                                          7,000

WHT                                  3,000       ผู้ประกอบการสามารถคำนวณเงิน หัก ณ ที่จ่ายได้จากยอดเต็ม 100,000*3%

โดยวิธีนี้เป็นวิธีที่ง่ายต่อการโดนตรวจจากสรรพากร แต่ จะทำให้ผู้รับเหมาได้เงินน้อยกว่าปกติเพราะค่าของในการก่อสร้างถูกนำมาหัก3% ทำให้ทาง ผู้รับเหมาอาจจะไม่ยินยอม

 

2.     สอบถามผู้รับเหมาไปโดยตรงว่า มีค่าแรงเท่าไหร่ ค่าของเท่าไหร่เพื่อที่ทางเราจะสามารถแยก ภาษี หัก ณ ที่จ่ายได้

จากตัวอย่างเดิม

Complete phase 1 (30%)        100,000   → ค่าของ 70,000  ค่าแรง 30,000 

Equipment                             70,000

Labor Fee                               30,000

Vat                                          7,000

WHT                                      900 คิดจากค่าแรงเท่านั้น 30,000*3%

วิธีที่2สามารถ ลดเงินภาษี หัก ณ ที่จ่ายได้ นอกจากนั้นยังทำให้ผู้รับเหมาได้รับเงินไปในแบบที่เขาควรจะได้ แต่วิธีการนี้สรรพากรสามารถขอข้อมูลค่าอุปกรณ์เพื่อพิจารณาเรื่องภาษีหัก ณ ที่จ่ายได้ หากจะใช้วิธีนี้ทางที่ดีควรจะแยก ใบแจ้งหนี้ออกเป็น2ใบ แบ่งออกเป็นค่าแรง และ ค่าของ

ทั้งสองวิธีสามารถดำเนินการได้ไม่มีปัญหาแต่อย่างใด ขึ้นอยู่กับข้อตกลงและสัญญาของทั้งสองฝั่ง

---

記事の内容が貴社の実態に合わせてどのように取り扱われるかが不明な場合など、お困りのことがございましたらお気軽に下記メールアドレスまでお問合せ下さい。

info@bm-ac.com

http://www.businessmanagementasia.com/jp/home

 

BM Accounting Co., Ltd.

BM Legal Co., Ltd.

President

米国公認会計士(inactive)

社会保険労務士

長澤 直毅

※本記事に記載の内容は、作成時点で得られる法律、実務上の情報をもとに作成しておりますが、本記事の閲覧や情報収集については、情報が利用者ご自身の状況に適合するものか否か、ご自身の責任において行なっていただきますようお願いいたします。 本記事に関して発生トラブル、およびそれが原因で発生した損失や損害について、BM Accounting Co., Ltd,/BM Legal Co., Ltd.及び執筆者個人.は一切の責任を負いかねます。また、本記事は一部で外部サイトへのリンクを含んでいますが、リンクする第三者のサイトの個人情報保護の取り扱いや、そのサイトの内容に関して一切責任を負いませんのであらかじめご了承ください。

↑このページのトップヘ