5分で分かるタイビジネス。(BM Accounting/BM Legal)

日系企業を取り巻く海外ビジネス環境は年々厳しくなっており、海外ビジネスのあり方を考える企業が最近では多くなってきています。会計・税務・労務の専門家が貴社の知識面でのサポートを当ブログにて行うべく、タイの各種法律と実態に基づき執筆しています。 個別のお問い合わせ事項御座いましたら、ホームページよりご連絡下さい。 http://www.businessmanagementasia.com/jp/home

カテゴリ: 会計・税務

タイでは年末年始に取引先や従業員にプレゼントを贈ることがあります。条件によって贈答品の損金処理や仕入VATの計上は可能です。今回は以下の4つのケースについて説明致します。

1.  年末年始に取引先にギフトバスケットを購入する場合

ギフトバスケットの購入はお祭りの期間中(正月、ソンクランなど)または一般的なビジネスの習慣に従いギフトバスケットに会社の名刺を貼って渡す場合には代金を損金として計上できます。ギフトバスケットの購入にかかる 仕入VATはタイ 歳入法典第82/5条の4に基づき損金不算入費用となります。

 2.  年末年始に取引先への贈与品を購入する場合

省令第143条(1979)(Ministerial Regulations No. 143 (B.E. 2522))に基づき、1人あたり上限2,000バーツを費用に計上できますが、2,000バーツを超えた金額は損金不算入費用となります。また歳入法第82/5条の4に基づき仕入VATは損金不算入費用となります。

 3.  年末年始に従業員のためのパーティーを行う場合

就業規則その他の社内規則に従業員のためのパーティーについて記載され、特定の従業員に限定されていない場合、パーティーに関する金額を費用に計上できます。ただし、従業員の人数と比較して高額になる場合、損金として認められない可能性もありますので注意が必要です。また、仕入VATの控除をするため、支払伝票に従業員のためのパーティーである旨を記載するのが望ましくなります。

4.  年末年始に従業員のためのラッキードローのプレゼントを購入する場合

就業規則その他の社内規則に従業員のためのラッキードローのプレゼントについて記載され、特定の従業員に限定されていない場合、ラッキードローのプレゼントに関する金額を費用に計上できますが、金額が市場価格相当である必要があります。また、会計処理のために領収書や会社の権限者のサインがある購入エビデンスが必要となります。プレゼント購入にかかる仕入VATは控除を受けられますが、タイ 歳入法典第78条の1に基づき売上VATの申告も必要となります。

---

ค่าใช้จ่ายและภาษีที่เกี่ยวกับของขวัญปีใหม่

บริษัทส่วนใหญ่นิยม มอบของขวัญเพื่อตอบแทน ลูกค้าหรือพนักงาน ในช่วงเทศกาลปีใหม่ นอกจากจะส่งเสริมเพิ่มความสัมพันธ์อันดีต่อบริษัทแล้ว บริษัทยังสามารถนำค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับเทศกาลปีใหม่ มาเป็นค่าใช้จ่ายที่ลดหย่อนภาษีได้ ทั้งนี้ ขอยกตัวอย่าง 4วิธีการเพื่อให้บริษัทสามารถนำมาลงเป็นค่าใช้จ่ายได้ดังนี้

1.     การซื้อกระเช้าของขวัญแจกลูกค้าในเทศกาลปีใหม่
การให้กระเช้าของขวัญปีใหม่แก่ลูกค้า  บริษัทสามารถหักเป็นรายจ่ายทางภาษีได้ โดยมีนามบัตรของบริษัทที่ระบุชื่อ ที่อยู่ และเครื่องหมายการค้าของบริษัทติดที่กระเช้าของขวัญดังกล่าว การซื้อของขวัญควรเป็นไปตามประเพณีธุรกิจทั่วไป ในช่วงเทศกาล เช่น เทศกาลปีใหม่ เทศกาลสงกรานต์

ในทางภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีซื้อ ทางสรรพากรถือว่าเป็นภาษีซื้อต้องห้ามมิให้นำไปหักออกจากภาษีขาย ตามมาตรา 82/5(4) แห่งประมวลรัษฎากรและข้อ 5 ของประกาศอธิบดีฯ ภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 17)

2.     การซื้อของขวัญให้ลูกค้าในเทศกาลปีใหม่
ในทางค่าใช้จ่ายสามารถนำมาเป็นค่าใช้จ่ายได้ไม่เกินคนละ 2,000 บาท ตาม กฎกระทรวงฉบับที่ 143 (พ.ศ. 2522) ในทางภาษีมูลค่าเพิ่ม ถือเป็นภาษีซื้อต้องห้าม ตามมาตรา 82/5(4) แห่งประมวลรัษฎากรและ ข้อ 5 ของประกาศอธิบดีฯ ภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 17)

3.     การจัดงานเลี้ยงสังสรรค์ให้พนักงานในเทศกาลปีใหม่
หากมีข้อกำหนดไว้ในระเบียบสวัสดิการของพนักงาน โดยไม่ได้กำหนดเจาะจงสำหรับพนักงานคนใดคนหนึ่งโดยเฉพาะ สามารถนำมาเป็นรายจ่ายในทางภาษีได้ ทั้งนี้ มูลค่าในการจัดเลี้ยงควรจะสอดคล้องกับจำนวนพนักงาน ในทางภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีซื้อที่เกิดจากค่าใช้จ่ายในการจัดเลี้ยงปีใหม่ บริษัทสามารถนำภาษีซื้อได้ เช่น การซื้อ อาหารมาจัดงานเลี้ยงแล้วมีภาษีมูลค่าเพิ่ม บริษัท สามารถนำมาคำนวนเป็นภาษีซื้อได้เต็มจำนวน แต่ต้องมีการระบุให้ชัดเจนว่าเป็นการซื้ออาหารเหล่านั้นมาเป็นสวัสดิการของพนักงาน

4.     การซื้อของขวัญให้พนักงานจับฉลากในเทศกาลปีใหม่
หากมีข้อกำหนดไว้ในระเบียบสวัสดิการของพนักงาน โดยไม่ได้กำหนดเจาะจงสำหรับพนักงานคนใดคนหนึ่งโดยเฉพาะถือเป็นรายจ่ายในทางภาษีได้ ราคาของสินค้าจับฉลากต้องเป็นไปตามราคาที่ซื้อขายกันในท้องตลาด โดยมีหลักฐานใบเสร็จรับเงินและมีการหลักฐานการอนุมัติโดยผู้มีอำนาจอนุมัติของบริษัทลงนาม
ในด้านภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีซื้อที่เกิดจากค่าใช้จ่ายในการซื้อของรางวัลจับฉลาก บริษัทสามารถนำมาเป็นภาษีซื้อได้เต็มจำนวน  ทางด้านภาษีขายที่เกิดจากการมอบของขวัญจับฉลากให้พนักงาน ถึงแม้จะกำหนดไว้ในสวัสดิการของพนักงาน แต่มีการส่งมอบสินค้าเกิดความรับผิดในการเสียภาษีมูลค่าเพิ่มตามมาตรา78(1)แห่งประมวลรัษฎากร จึงต้องนำส่งภาษีขายแต่ไม่จำเป็นต้องจัดทำใบกำกับภาษี

---

記事の内容が貴社の実態に合わせてどのように取り扱われるかが不明な場合など、お困りのことがございましたらお気軽に下記メールアドレスまでお問合せ下さい。

info@bm-ac.com

http://www.businessmanagementasia.com/jp/home

 

BM Accounting Co., Ltd.

BM Legal Co., Ltd.

President

米国公認会計士(inactive)

社会保険労務士

長澤 直毅

※本記事に記載の内容は、作成時点で得られる法律、実務上の情報をもとに作成しておりますが、本記事の閲覧や情報収集については、情報が利用者ご自身の状況に適合するものか否か、ご自身の責任において行なっていただきますようお願いいたします。 本記事に関して発生トラブル、およびそれが原因で発生した損失や損害について、BM Accounting Co., Ltd,/BM Legal Co., Ltd.及び執筆者個人.は一切の責任を負いかねます。また、本記事は一部で外部サイトへのリンクを含んでいますが、リンクする第三者のサイトの個人情報保護の取り扱いや、そのサイトの内容に関して一切責任を負いませんのであらかじめご了承ください。

会計書類の保管および紛失または破損した場合の対応について

2000年会計法に基づき、会社は会計・税務に関する書類を保管する義務があります。会計担当者、事業主、取締役が以下の資料を保管しなければなりません。

1. 日次資料 例:小口現金レポート、銀行口座預金レポート、支払日計表、売上日計表、日次仕訳帳

2.  総勘定元帳 例:資産台帳(その他BSPL全ての勘定科目の元帳)

3. 棚卸表

4. 社内・社外の書類 例:領収書、請求書、Tax Invoice、配達証明、受領証、、前払金支払伝票、小口現金の出金伝票、交通費申請書

上記の会計に関する書類には書類の作成者名、書類名、書類番号、発行日付、合計金額を記載する必要があります。

また、会計・税務に関する書類の保管期間は以下の通りとなります。

1.  2000年会計法に基づき、会計及び関連書類を会計年度終了から5年間以上

(ただし、歳入局の権限で最長7年間まで保管を求められる場合がある)

2.  歳入法第87/3条に基づき、税務書類、Tax InvoiceTax Invoiceのコピー、税務関連書類を自社または歳入局に指定された場所に税務申告終了から5年間以上

上記の情報に基づき、会計・税務に関する書類は最低5年間保管する必要があります。また裁判などを想定する場合、時効が10年間のケースもあるため一般的には510年間書類を保管することが多くなっています。

会計・税務書類を紛失または破損した場合の手続きは以下の通りです。

1.  紛失または破損の報告書作成のために、紛失または破損した書類はどんな書類、いつの書類かを確認します。

2. 書類が破損した場合、証明として書類保管場所の写真を撮る必要があります。

3. 警察証明を取得するために、自社または書類保管場所の地方の警察に届け出します。

4.  書類が紛失または破損したことを認識してから15日以内に歳入局と商務省に連絡し、会計書類遺失証明書(SBCH.2)を申請します。

5. 書類の再発行のために、警察証明を取引先に送付します。

以下の書類を紛失した場合、書類の再発行またはコピーなどで代替できます。

1. Purchase tax invoice(自社の書類):書類を再発行するか、または取引先に書類のコピーを依頼します。

2. Sales tax invoice(取引先からの書類):取引先に連絡し、書類を再発行してもらうか書類のコピーを依頼します。

3. 税務申告書:歳入局にコピーの発行依頼ができます。

---

การเก็บเอกสารทางบัญชีและ ขั้นตอนการปฎิบัติหากเอกสารสูญหายหรือเสียหาย

ตามกฎหมายพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 กำหนดให้ บริษัทมีหน้าที่ในการเก็บเอกสารทางบัญชีและภาษี ซี่งผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชี, เจ้าของกิจการหรือกรรมการบริษัท มีหน้าที่ต้องเก็บรักษาข้อมูลและเอกสารดังต่อไปนี้

1.     บัญชีรายวัน ได้แก่ บัญชีเงินสด บัญชีธนาคาร บัญชีรายวันซื้อ บัญชีรายวันขาย บัญชีรายวันทั่วไป

2.     บัญชีแยกประเภท ได้แก่ บัญชีแยกประเภทในด้านงบดุล(สินทรัพย์ หนี้สินและทุน), งบกำไรขาดทุน(รายได้และค่าใช้จ่าย)

3.     บัญชีสินค้า

4.    เอกสารภายนอกและภายในเช่น ใบเสร็จรับเงิน ใบแจ้งหนี้ ใบกำกับภาษีซื้อ ใบส่งของ ใบสำคัญรับ ใบสำคัญจ่ายใบเบิกเงินทดรองจ่าย ใบเบิกเงินสดย่อย ใบเบิกค่าเดินทาง เป็นต้น

โดยเอกสารประกอบการลงบัญชีดังกล่าวต้องมีชื่อผู้จัดทำเอกสาร ชื่อและเลขที่เอกสาร วันเดือนปีที่ออกเอกสารและยอดเงินสุทธิ

ระยะเวลาในการเก็บเอกสารบัญชีและภาษี

ระยะการเก็บเอกสารจะอ้างอิงข้อมูล3ข้อดังต่อไปนี้

1.     ตามพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ.2543 กำหนดระยะเวลาในการเก็บรักษาบัญชีและเอกสารประกอบการลงบัญชี เป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า 5 ปี นับแต่วันปิดบัญชีทั้งนี้เพื่อประโยชน์ในการตรวจสอบบัญชีของบริษัท (อย่างไรก็ตาม กรมสรรพากรมีอำนาจกำหนดให้ผู้ประกอบการเก็บรักษาบัญชีและเอกสารประกอบการลงบัญชีไว้ไม่เกิน 7 ปี)

2.     มาตรา 87/3 แห่งประมวลรัษฎากร กำหนดให้บริษัทการเก็บเอกสารรายงาน ใบกำกับภาษี สำเนาใบกำกับภาษีพร้อมทั้งเอกสารประกอบการลงรายงาน ประกอบการลงรายงาน ณ สถานประกอบการที่จัดทำรายงานหรือสถานที่อื่นตามที่อธิบดีกรมสรรพากรกำหนดเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 5 ปีนับแต่วันที่ได้ยื่นแบบแสดงรายการภาษีหรือวันทำรายงาน

จากข้อมูลข้างต้น เอกสารทางบัญชีและภาษีควรเก็บไว้อย่างน้อย 5 ปี นอกจากมีการพิจารณาคดีที่มีอายุความ10 ปี หรือ การตรวจสอบทางภาษี ดังนั้นโดยทั่วไปแล้วระยะเวลาการเก็บเอกสารมักจะถูกเก็บไว้เป็นเวลา 5 ถึง 10 ปี

หากเอกสารหายหรือเกิดการเสียหายขึ้น สิ่งที่ต้องปฎิบัติมีดังต่อไปนี้

1.        ตรวจสอบเอกสารที่หายหรือเสียหายว่า เป็นเอกสารชนิดใด ช่วงเวลาไหนเพื่อจัดทำรายงาน

2.        ในกรณีเอกสารเสียหาย จำเป็นต้องถ่ายรูปสถานที่เกิดเหตุเอาไว้เป็นหลักฐาน

3.        แจ้งความกับเจ้าหน้าที่ตำรวจ ที่อยู่ในเขตของบริษัท หรือสถานที่เกิดเหตุ เพื่อออกใบแจ้งความ

4.     แจ้งแต่กรมสรรพากรและกรมพัฒนาธุรกิจการค้าภายใน15วัน นับแต่วันที่ทราบหรือควรทราบถึงการสูญหายหรือเสียหายนั้นด้วย แบบแจ้งบัญชีสูญหายฯ (ส.บช.2)

5.        นำใบแจ้งความส่งให้ทางบริษัทคู่ค้าเพื่อเป็นหลักฐานในการขอเอกสารใหม่

ในกรณีที่เอกสารหายเอกสารดังต่อไปนี้ สามารถ ขอเอกสารทดแทนได้

1.        ใบกำกับภาษี ขาย (เอกสารจากฝั่งเรา): เราสามารถพิมพ์ออกมาใหม่ หรือ ขอสำเนาจากลูกค้าได้เพราะลุกค้าได้รับใบจริง

2.        ใบกำกับภาษี ซื้อ(เอกสารจากฝั่งคู่ค้า): ติดต่อผู้ขายให้ช่วยออกใบแทนใบกำกับภาษี

3.        แบบยื่นภาษี: ขอคัดสำเนากรมสรรพากรใหม่ได้

---

記事の内容が貴社の実態に合わせてどのように取り扱われるかが不明な場合など、お困りのことがございましたらお気軽に下記メールアドレスまでお問合せ下さい。

info@bm-ac.com

http://www.businessmanagementasia.com/jp/home

 

BM Accounting Co., Ltd.

BM Legal Co., Ltd.

President

米国公認会計士(inactive)

社会保険労務士

長澤 直毅

※本記事に記載の内容は、作成時点で得られる法律、実務上の情報をもとに作成しておりますが、本記事の閲覧や情報収集については、情報が利用者ご自身の状況に適合するものか否か、ご自身の責任において行なっていただきますようお願いいたします。 本記事に関して発生トラブル、およびそれが原因で発生した損失や損害について、BM Accounting Co., Ltd,/BM Legal Co., Ltd.及び執筆者個人.は一切の責任を負いかねます。また、本記事は一部で外部サイトへのリンクを含んでいますが、リンクする第三者のサイトの個人情報保護の取り扱いや、そのサイトの内容に関して一切責任を負いませんのであらかじめご了承ください。

タイ国外のデジタル・プラットフォームを提供する事業者からVATを徴収するため、タイ歳入局はVESVAT for Electronic Service)というタイ非居住者であるサービス提供者へのVAT課税を202191日から開始しました。

ネット通販、ネット広告、航空券・ホテル予約サイト、ゲーム・音楽・映画ダウンロードサイト、Web会議システムなどのデジタル・プラットフォームに関するサービスを提供しているタイ国外の法人はVESシステムでVATの申告が必要となります。

タイ国内で上記の事業を行う海外法人・事業者で年間の収益が1.8百万バーツ以上の場合、サービス料の7%のVATの申告・納税が求められます。

今後タイ国内企業がタイ国外企業からサービスを受ける場合、以下のような影響が出てくると考えられます。

1. サービス利用者(タイ国内企業)がタイでVAT登録を申請していない法人または個人の場合

20219月1日以降、海外事業者が利用者にVAT7%の負担分を料金に加算するように変更する可能性があります。

例えば従来サービス料が1,000バーツとしていた事業者が、91日以降にサービス料を1,070バーツに変更するようなケースが出てくると考えられます。

2.  サービス利用者(タイ国内企業)がタイでVAT登録を申請した法人または個人の場合

利用者がタイでVAT事業者である場合、タイ国外の事業者はVATの申告・納税は不要となります。ただし、利用者がVAT事業者であるか確認せずにVATを請求するケースがあると考えらえます。

そのため、利用者はVAT登録事業者の場合、取引をする海外事業者がVESに登録した海外事業者であるかを以下のサイトで確認し、海外事業者がVESの登録事業者、利用者は海外事業者に自社がタイのVAT登録事業者であることを連絡するのが望ましくなります。

リンク:https://eservice.rd.go.th/rd-ves-web/search/company

利用者がVAT事業者である場合、海外事業者は利用者にVATを請求する必要はなく、従来の通り利用者が歳入局にPP.36のフォームでVAT申告をします。海外事業者がVESの登録事業者であっても、利用者がPP.36の申告義務があるため注意が必要になります。

海外事業者はタイの税制に精通していない可能性があるため、VAT登録事業者である利用者は海外事業者からもVATを請求されないよう、自社がタイVAT登録事業者であることを海外事業者に連絡し、歳入局にPP.36を申告するという流れを取るのが望ましいと考えられます。

---

VES (Vat for Electronic Service) ระบบเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มจากแพลตฟอร์มดิจิทัลต่างประเทศ

                VES คือ ระบบที่กรมสรรพากรจัดทำขึ้น เพื่อการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม (VAT) สำหรับบริษัทต่างชาติที่ให้บริการด้านแพลตฟอร์มดิจิทัล เช่น การขายของออนไลน์ (E-Commerce), การบริการโฆษาบนเว็บไซต์หรือแอพพลิเคชั่น (Ads), การให้บริการจองที่พัก ตั๋วเดินทาง (Agency), บริการดาวน์โหลดหรือเล่นเกม, ฟังเพลง, ดูภาพยนตร์ออนไลน์, ประชุมออนไลน์ เป็นต้น การจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มผ่านระบบ VES มีผลตั้งแต่ 1 กันยายน 2564

โดยบริษัทต่างชาติหรือผู้ให้บริการที่จะต้องมาลงทะเบียนในระบบVESนั้นต้องมียอดขายเกิน 1.8ล้านบาท ต่อปี เก็บภาษีในอัตตรา 7%ของค่าบริการ (ประกาศตั้งแต่ กุมภาพันธ์ 2564 พ.ร.บ. แก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร ฉบับที่53 พ.ศ. 2564)  

ผลกระทบที่จะเกิดขึ้นในอนาคตสำหรับผู้ใช้บริการคาดว่าจะเป็นดังต่อไปนี้

1.     บริษัทหรือบุคคลธรรมดาที่ไม่ได้จดภาษีมูลค่าเพิ่มในประเทศไทย

ตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน 2564 เป็นต้นไป  มีความเป็นไปได้ที่ผู้ให้บริการบริษัทต่างประเทศจะผลักภาระภาษีมาให้ผู้ใช้บริการ จึงมีแนวโน้มว่าทางผู้ใช้บริการอาจจะต้อง ชำระค่าบริการเพิ่มขึ้นอีก7%

ตัวอย่าง ค่าบริการโฆษณา 1,000 บาท  ตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน 2564 เป็นต้นไป  ผู้ใช้บริการจะต้องจ่ายเพิ่มเป็น 1,070 บาท

2.     บริษัทหรือบุคคลธรรมดาที่จดภาษีมูลค่าเพิ่มในประเทศไทย

สำหรับผู้ใช้บริการ ที่จดภาษีมูลค่าเพิ่มในประเทศไทยแล้ว สิ่งที่จำเป็นจะต้องทำคือ แจ้งผู้ให้บริการแพลตฟอร์มต่างประเทศทราบว่าผู้ใช้บริการเป็นผู้ประกอบการจดภาษีมูลค่าเพิ่มในประเทศไทย  ดังนั้นผู้ให้บริการจะไม่มีความจำเป็นที่ต้องเรียกเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มกับผู้ใช้บริการ

ผู้ใช้บริการสามารถตรวจสอบรายชื่อบริษัทที่ลงทะเบียนในระบบVESได้ผ่านทางเว็บไซต์สรรพากรตามลิ้งค์ด้านล่างนี้

 https://eservice.rd.go.th/rd-ves-web/search/company

หลังจากแจ้งผู้ให้บริการแพลตฟอร์มต่างประเทศทราบแล้วทางผู้ใช้บริการมีหน้าที่จะต้องนำส่ง ภพ.36 ให้กรมสรรพากร
เนื่องจากระบบ
VES เป็นระบบที่พึ่งเริ่มใช้งาน จึงมีความเป็นไปได้ว่าผู้ให้บริการแพลตฟอร์มต่างประเทศอาจจะไม่ทราบในเรื่องการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มของประเทศไทย หากไม่พบรายชื่อผู้ให้บริการแพลตฟอร์มต่างประเทศในระบบVES ขอแนะนำให้ผู้ประกอบการที่ใช้บริการนำส่งภาษีมูลค่าเพิ่มภ.พ.36ต่อกรมสรรพากรให้ถูกต้อง เพื่อไม่ให้ถูกเรียกเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มเติมในภายหลัง

---

記事の内容が貴社の実態に合わせてどのように取り扱われるかが不明な場合など、お困りのことがございましたらお気軽に下記メールアドレスまでお問合せ下さい。

info@bm-ac.com

http://www.businessmanagementasia.com/jp/home

 

BM Accounting Co., Ltd.

BM Legal Co., Ltd.

President

米国公認会計士(inactive)

社会保険労務士

長澤 直毅

※本記事に記載の内容は、作成時点で得られる法律、実務上の情報をもとに作成しておりますが、本記事の閲覧や情報収集については、情報が利用者ご自身の状況に適合するものか否か、ご自身の責任において行なっていただきますようお願いいたします。 本記事に関して発生トラブル、およびそれが原因で発生した損失や損害について、BM Accounting Co., Ltd,/BM Legal Co., Ltd.及び執筆者個人.は一切の責任を負いかねます。また、本記事は一部で外部サイトへのリンクを含んでいますが、リンクする第三者のサイトの個人情報保護の取り扱いや、そのサイトの内容に関して一切責任を負いませんのであらかじめご了承ください。

コロナウィルス感染拡大に伴う減税対策について

コロナウィルスの感染拡大により、土地家屋税を納める業者及び個人が通常の通り営業できなくなっていることを受けて、タイ政府は土地家屋税の軽減という経済対策を実施します。土地家屋税軽減の内容は2021年における土地家屋税が90%減税となります。

小中事業者のデジタル化対応への支援

2021511日に内閣は財務省が提案した小中事業者(SMEs)のデジタル化対応の支援に関する歳入法典に基づく勅令案を承認しました。勅令案は会計年度の最終日の払込資本金が5百万バーツ以下、かつ会計年度の収入金額が30百万バーツ未満の法人に対する税務上の控除の加算となります。プログラムとソフトウェアの購入、プログラムとソフトウェアサービス料の支払いは、デジタル経済振興庁に登録したプログラムとソフトウェアを提供する企業への支払いは税務上2倍の控除(上限10万バーツ)ができます。こちらの控除は202111日~20221231日に始まる会計年度が対象となります。

コロナウィルス感染拡大への支援寄付金に対する減税対策

1.  首相秘書事務局へ寄付金をした個人は寄付金額を個人所得税で控除できます。ただし、他の寄付金(歳入法第47(7))と合わせて課税所得金額の10%を超えない範囲となります。

2.  首相秘書事務局へ金銭または資産を寄付した法人は寄付金額を控除できます。ただし、他の寄付金(歳入法第47/3(3) ())と合わせて純利益の2%を超えない範囲となります。

---

มาตราการ ลดภาษีในช่วงโควิด-19

มาตรการลดภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง (มาตรการลดภาษีที่ดินฯ) มีวัตถุประสงค์เพื่อบรรเทาผลกระทบด้านเศรษฐกิจและสังคมต่อประชาชนและผู้ประกอบการที่เป็นผู้เสียภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง เนื่องจากไม่สามารถประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจได้ตามปกติ อันเนื่องมาจากผลกระทบจากการแพร่ระบาดของ โควิด-19โดยให้ลดภาษีในอัตราร้อยละ 90 ของจำนวนภาษีที่คำนวณได้สำหรับการจัดเก็บภาษีของปีภาษี พ.ศ. 2564

มาตรการสนับสนุน SMEs ยุคดิจิทัลสู้โควิด-19

เมื่อวันที่ 11 พ.ค. 64ที่ผ่านมา ประมวลรัษฎากร มาตรการภาษีเพื่อส่งเสริมผู้ประกอบการธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็ก (SMEs) ปรับเปลี่ยนธุรกิจสู่เศรษฐกิจดิจิทัล มีมาตรการยกเว้นภาษีเงินได้ ให้แก่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลซึ่งมีทุนที่ชำระแล้ว ในวันสุดท้าย ของรอบระยะเวลาบัญชีไม่เกิน5ล้านบาท และมีรายได้จากการขายสินค้าและการให้บริการในรอบระยะเวลาบัญชีไม่เกิน30ล้านบาท ให้สามารถหักรายจ่ายได้ 2 เท่า

สำหรับรายจ่ายที่ได้จ่ายเป็นค่าซื้อ หรือจ้างทำโปรแกรมคอมพิวเตอร์ หรือซอฟต์แวร์ (Software) หรือค่าใช้บริการโปรแกรมคอมพิวเตอร์ หรือซอฟต์แวร์ (Software) ให้แก่ผู้ขายหรือผู้รับจ้างทำโปรแกรมคอมพิวเตอร์ หรือซอฟต์แวร์ (Software) หรือ ผู้ให้บริการโปรแกรมคอมพิวเตอร์ หรือซอฟต์แวร์ (Software) ที่ได้รับการขึ้นทะเบียนจากสำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล เฉพาะในส่วน ที่ไม่เกิน 100,000 บาท สำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2564 แต่ไม่เกินวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2565 ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่อธิบดีประกาศกำหนด

มาตรการภาษีสนับสนุนการบริจาคเพื่อแก้ไขปัญหาโรคโควิด-19

1.     บุคคลธรรมดาที่บริจาคเงินให้แก่สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี สามารถนำมาหักเป็นค่าลดหย่อนได้เท่าจำนวนที่บริจาค แต่เมื่อรวมกับเงินบริจาคตามมาตรา 47 (7) แห่งประมวลรัษฎากรแล้วต้องไม่เกินร้อยละ10ของเงินได้พึงประเมินหลังจากหักค่าใช้จ่ายและหักค่าลดหย่อนอื่น ๆ แล้ว

2.     บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่บริจาคเงินหรือทรัพย์สินให้แก่สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี สามารถนำมาหักเป็นรายจ่ายได้เท่าจำนวนที่บริจาค แต่เมื่อรวมกับรายจ่ายเพื่อการกุศลสาธารณะหรือเพื่อการสาธารณประโยชน์ ตามมาตรา 65 ตรี (3) (ข) แห่งประมวลรัษฎากรแล้ว ต้องไม่เกินร้อยละ2ของกำไรสุทธิ

---

記事の内容が貴社の実態に合わせてどのように取り扱われるかが不明な場合など、お困りのことがございましたらお気軽に下記メールアドレスまでお問合せ下さい。

info@bm-ac.com

http://www.businessmanagementasia.com/jp/home

 

BM Accounting Co., Ltd.

BM Legal Co., Ltd.

President

米国公認会計士(inactive)

社会保険労務士

長澤 直毅

※本記事に記載の内容は、作成時点で得られる法律、実務上の情報をもとに作成しておりますが、本記事の閲覧や情報収集については、情報が利用者ご自身の状況に適合するものか否か、ご自身の責任において行なっていただきますようお願いいたします。 本記事に関して発生トラブル、およびそれが原因で発生した損失や損害について、BM Accounting Co., Ltd,/BM Legal Co., Ltd.及び執筆者個人.は一切の責任を負いかねます。また、本記事は一部で外部サイトへのリンクを含んでいますが、リンクする第三者のサイトの個人情報保護の取り扱いや、そのサイトの内容に関して一切責任を負いませんのであらかじめご了承ください。

個人所得税の還付手続きと還付期間:個人所得税申告後に還付ができる場合、申告期限(通常は331日)から3年間以内に還付することが可能となります。

還付方法:以下の2つの方法があります。

1. プロンプトペイ(Promptpay

2. Krungthaiの銀行口座、またはE-money/E-wallet


1. プロンプトペイ(Promptpay)で還付する場合、外国人が登録したプロンプトペイを持っていれば、還付税金がプロンプトペイに送金されます。

2.  Krungthaiの銀行口座で還付する場合、歳入局が発行した個人所得税還付通知書(Kor.21)を受け取った後に還付できます。個人所得税還付通知書を受け取っていない場合、歳入局で受け取れます。

Krungthai銀行で本人が税金還付を受け取る場合、必要な資料は以下の通りです。

 1.  個人所得税還付通知書(Kor.21

 2. Tax IDカード

 3. パスポート

 被委任者人が税金還付を受け取る場合、以下の追加資料が必要となります。

 4. 委任状

 5. 被委任者人のIDカード

外国人が既に帰国したため、銀行で税金を還付できない場合、委任により還付手続きを進めることが出来ますが、その場合E-moneyカードによる還付のみ可能となり、以下の資料を用意する必要があります。

1.  個人所得税還付通知書(Kor.21

2. 委任状(タイ語のみ):外国人のTax IDを記載し、委任者、被委任者、2名の立会人の署名が必要となります。

3. パスポートの写真があるページおよび直近のタイ出国ページコピー及び署名

4. 被委任者人のIDカード

5. 外国人Tax IDカードのコピー及び署名

なお、上記の委任状及びパスポートコピーの資料は公証役場、外務省、タイ大使館の認証を取得しなければなりません。

---

การขอคืนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภ.ง.ด.90/ภ.ง.ด.91ของชาวต่างชาติ

วิธีการขอคืนและระยะเวลาการขอคืน: หลังจากยื่นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา แล้วมีสิทธิได้รับคืนเงินภาษี  สามารถทำเรื่องขอคืนได้ทันทีหรือยื่นขอคืนได้ภายใน3ปี นับแต่วันสุดท้ายที่ครบกำหนดยื่นภาษี (ปกติวันสุดท้ายคือ31 มีนาคม)
ช่องทางการรับเงินคืนภาษี : สามารถรับเงินได้2ทาง 

1.พร้อมเพย์

 2.รับเงินคืนเข้าบัญชีธนาคารกรุงไทย หรือ รับเป็นบัตร e-money/e-walley

กรณีที่1 รับเงินคืนภาษีผ่าน พร้อมเพย์ หากคนต่างชาติมีพร้อมเพย์ เงินภาษีจะถูกโอนเข้าพร้อมเพย์ของคนๆนั้นทันที

กรณีที่2 รับเงินคืนผ่านบัญชีธนาคารกรุงไทย วิธีการนี้ชาวต่างชาติจะต้องได้รับหนังสือแจ้งคืนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ค21 จากกรมสรรพากรก่อนถึงจะนำไปขอรับเงินคืนภาษีได้ (หากไม่ได้รับสามารถติดต่อสรรพากรพื้นที่เพื่อขอรับได้) เพื่อนำไปขอรับเงินคืนผ่านบัญชีธนาคารกรุงไทย

หากไปรับด้วยตนเอง เอกสารที่ต้องเตรียมมีดังนี้

1.        หนังสือแจ้งคืนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ค.21

2.        บัตรประจำตัวผู้เสียภาษีอากร (13 หลัก) (Tax ID)

3.        หนังสือเดินทาง (Passport)

กรณีไม่สามารถเดินทางมาด้วยตัวเอง จะไม่สามารถรับเป็นบัตร e-money/e-walley ได้ และต้องเพิ่มเอกสารอีกดังต่อไปนี้

4.        หนังสือมอบอำนาจ

5.        บัตรประชาชนผู้รับมอบอำนาจ

กรณี คนต่างชาติไม่สามารถไปติดต่อขอรับเงินคืนภาษีที่ธนาคารได้ เนื่องจากเดินทางออกจากประเทศไทยแล้ว ผู้ขอคืนสามารถให้ผู้แทนที่ชอบด้วยกฎหมายทำการแทนได้แต่จะได้เป็นเงินภาษีคืนในรูปแบบบัตร e-moneyเท่านั้น โดยต้องเตรียมเอกสารดังต่อไปนี้

1.        หนังสือแจ้งคืนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา (ค.21)

2.        หนังสือมอบอำนาจ (ภาษาไทยเท่านั้น) ในเอกสารจะต้องระบุเลขบัตรประจำตัวผู้เสียภาษีอากร 13 หลัก (Tax ID) ที่กรมสรรพากรออกให้ ลงลายมื อ ผู้มอบอำนาต ผู้รับมอบอำนาจ และ พยาน 2 คน

3.        สำเนาหนังสือเดินทาง หน้าทีมีรูปภาพและหน้าที่เดินทางออกครั้งสุดท้ายพร้อมลายเซ็น

4.        บัตรประชาชนผู้รับมอบอำนาจ

5.        สำเนาบัตรประจำตัวผู้เสียภาษีอากร (13 หลัก)ของผู้ขอคืน พร้อมลายเซ็นต์
**เอกสารข้อ2(หนังสือมอบอำนาจ )และ3(สำเนาหนังสือเดินทาง พร้อมลายเซ็น)นั้นจำเป็นต้องมี การรับรองตามลำดับดังต่อไปนี้ หน่วยงานรับรองเอกสารที่ญี่ปุ่น (Notary Public) ,กงสุลญี่ปุ่น สถาณทูตไทยในประเทศญี่ปุ่น

---

記事の内容が貴社の実態に合わせてどのように取り扱われるかが不明な場合など、お困りのことがございましたらお気軽に下記メールアドレスまでお問合せ下さい。

info@bm-ac.com

http://www.businessmanagementasia.com/jp/home

 

BM Accounting Co., Ltd.

BM Legal Co., Ltd.

President

米国公認会計士(inactive)

社会保険労務士

長澤 直毅

※本記事に記載の内容は、作成時点で得られる法律、実務上の情報をもとに作成しておりますが、本記事の閲覧や情報収集については、情報が利用者ご自身の状況に適合するものか否か、ご自身の責任において行なっていただきますようお願いいたします。 本記事に関して発生トラブル、およびそれが原因で発生した損失や損害について、BM Accounting Co., Ltd,/BM Legal Co., Ltd.及び執筆者個人.は一切の責任を負いかねます。また、本記事は一部で外部サイトへのリンクを含んでいますが、リンクする第三者のサイトの個人情報保護の取り扱いや、そのサイトの内容に関して一切責任を負いませんのであらかじめご了承ください。

↑このページのトップヘ